ประชาสัมพันธ์

ขอเชิญคณาจารย์ นักวิจัย และบุคลากรมหาวิทยาลัยศิลปากร และเครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง

เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การถอดบทเรียนเพื่อจัดทำแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)ของโครงการวิจัยเชิงพื้นที่ ”

โดย รองศาสตราจารย์ดร.ประภาพรรณ อุ่นอบ มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะ

วันเสาร์ที่ 1 – วันอาทิตย์ที่ 2 มิถุนายน 2567 เวลา 8.30-17.00 น.

ณ ไม้แก้ว ดำเนิน รีสอร์ท อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ

  1. เป็นบุคลากรในสถาบันการศึกษาเครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง
  2. มีงานวิจัยเชิงพื้นที่ที่ดำเนินการเสร็จสิ้น 80% ขึ้นไป ในพื้นที่ภาคกลางตอนล่าง 11 จังหวัด
  3. มีทีมวิจัย ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ไม่เกิน 4 คน ที่สามารถเข้าร่วมโครงการได้เต็มเวลา

(หากยกเลิกการเข้าร่วม จะต้องเสียค่าใช้จ่าย คือค่าที่พัก และค่าอาหารให้กับเครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง)

  1. หากเป็นโครงการวิจัยที่ได้รับทุนจากเครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง จะได้รับการพิจรณาเป็นพิเศษ หมายเหตุ :

*เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง จะสนับสนุนเฉพาะค่าที่พักและค่าอาหารในโครงการ

*รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการจำนวนจำกัด

*ผู้เข้าร่วมโครงการจะต้องเข้าร่วมการอบรมเชิงปฎิบัติการ ผ่าน zoom meeting ในวันพฤหัสบดีที่ 16 พฤษภาคม 2567 เวลา 8.30-16.00 น.

ดาวน์โหลดโครงการและกำหนดการได้ที่นี่

ปิดรับสมัคร ภายในวันอังคารที่ 14 พฤษภาคม 2567 เวลา 16.00 น.

ติดต่อสอบถามได้ที่ เบอร์โทรศัพท์ 061-6284101 (เวลาราชการ) หรือ อีเมล thaiwest.su@gmail.com

จัดโดย เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง และสำนักงานบริหารการวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 24

📌การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 24

ด้วยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น ร่วมกับ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสถาบันเครือข่ายประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเนชั่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น เครือข่าย วิจัยประชาชื่น มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยปทุมธานี และวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 24 เรื่อง “ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ อย่างสร้างสรรค์ด้วยภูมิปัญญาไทยผ่านงานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน😁

✅วันเสาร์ที่ 22 และวันอาทิตย์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2567

ณ อาคารคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น วิทยาเขตวัชรพล

📌กำหนดการลงทะเบียน ชำระเงินและส่งบทความ

วันที่ 1 เมษายน – วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนได้ที่ >>> http://www.western.ac.th

📣 Call for Papers 🌟 3rd NIC-NIDA Conference, 2024 🌟

‼Now – June 15, 2024 ‼

🏦 สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) ขอเชิญผู้สนใจร่วมส่งผลงานวิชาการ (บทความ/กรณีศึกษา) เพื่อเข้าร่วมนำเสนอในงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 🎙

🌏 2024 National and International Conference of the National Institute of Development Administration

💡 Theme: Redesigning our Common Future for Sustainable Transformation 🌏

📅 Event date: August 22-23, 2024between 9:00 a.m. – 5.30 p.m.

🏦 On-site Conference, NIDA, Bangkok, Thailand 🇹🇭

💻 For more informationFacebook Page : Research Center at NIDA https://www.facebook.com/RCNIDA

📨email : nidaconference@nida.ac.th

📞 0 2727 3300 , 0 2727 3298

🤓 We look forward to seeing you at NIC-NIDA 2024 😊#NICNIDA#NICNIDA2024#NIDAConference#NIDAConference2024#Conference#CallForPapers#NIDA#NIDAThailand#WISDOMforSustainableDevelopment#สร้างปัญญาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน#Researchbureau#สำนักวิจัย

ที่มา : https://www.facebook.com/share/spF3xPsUsFAb7c1Y/?mibextid=WC7FNe

ขอเชิญส่งบทความ – 𝑪𝒂𝒍𝒍 𝒇𝒐𝒓 𝑷𝒂𝒑𝒆𝒓𝒔 เพื่อนำเสนอใน #งานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

𝐓𝐡𝐞 5𝐭𝐡 𝐑𝐞𝐬𝐞𝐚𝐫𝐜𝐡, 𝐈𝐧𝐯𝐞𝐧𝐭𝐢𝐨𝐧, 𝐚𝐧𝐝 𝐈𝐧𝐧𝐨𝐯𝐚𝐭𝐢𝐨𝐧 𝐂𝐨𝐧𝐠𝐫𝐞𝐬𝐬 #RI2C2024ในรูปแบบ Onsite at Grand Fortune Hotel, Bangkok, Thailand.

3 session

💡 Innovative Electricals and Electronics (iEE)

⚙ Innovative Mechanical and Materials (iMM)

🍀 Innovative Sustainable Science (iSS)

Submission of full paper/abstract closing date::::::::::::: 15 May 2024 :::::::::::::

Date: 8 – 9 August 2024 (9.00 a.m. – 6.00 p.m.)Vanue: Grand Fortune Hotel, Bangkok, Thailand. https://maps.app.goo.gl/fQZ6DAQv92KezKZF8

🔍 ดูรายละเอียดที่ https://www.ri2c-kmutnb.com/

จัดโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 🧡#KMUTNB#conference#Ri2C#งานประชุมวิชาการ

ที่มา : https://www.facebook.com/share/F9TvzXzF8sMrzziu/?mibextid=WC7FNe

📢✨ขอเชิญคณาจารย์ และนักวิจัย มหาวิทยาลัยศิลปากร และเครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง

เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การเขียนโครงการวิจัยเพื่อนำนวัตกรรม องค์ความรู้มาต่อยอดและขยายผลสู่การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์”

🍀โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สุมนมาลย์ เนียมหลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และคณะ

📍วันเสาร์ที่ 11 – วันอาทิตย์ที่ 12 พฤษภาคม 2567
🕐เวลา 8.30-17.00 น.
🏫ณ โรงแรมริเวอร์ตัน ตำบลลาดใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม

📌💫คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ

  1. เป็นบุคลากรในสถาบันการศึกษาเครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง
  2. มีงานวิจัย พร้อมต่อยอดร่วมกับผู้ประกอบการ ในพื้นที่ภาคกลางตอนล่าง 11 จังหวัด (หากมีความร่วมมือกับผู้ประกอบการแล้วจะพิจารณาเป็นพิเศษ)
  3. มีทีมวิจัย ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ไม่เกิน 4 คน ที่สามารถเข้าร่วมโครงการได้เต็มเวลา (หากยกเลิกการเข้าร่วม จะต้องเสียค่าใช้จ่าย คือ ค่าที่พัก และค่าอาหารให้กับเครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง)
  4. หากเป็นโครงการวิจัยที่ได้รับทุนจากเครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง จะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ

❗️หมายเหตุ :
*เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง จะสนับสนุนเฉพาะค่าที่พักและค่าอาหาร
*รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการจำนวนจำกัด

📲สมัครได้ที่ https://forms.gle/gw6AYbAZGbnFcrSbA
ปิดรับสมัคร ภายในวันพฤหัสบดีที่ 2 พฤษภาคม 2567 เวลา 16.00 น.

☎️ติดต่อสอบถามได้ที่ เบอร์โทรศัพท์ 061-6284101 (เวลาราชการ) หรือ อีเมล thaiwest.su@gmail.com

จัดโดย เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง และ สำนักงานบริหารการวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย และนักวิจัยมหาวิทยาลัยศิลปากร เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การประเมินผลกระทบทางสังคมและการประเมิน ผลตอบแทน ทางสังคมจากการลงทุน (SROI) เพื่อขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสู่ความสำเร็จ (Roadmap to Success)

วันเสาร์ที่ 6 เมษายน พ.ศ.2567 เวลา 8.30 – 12.00 น.
รองศาสตราจารย์ ดร.ประสพชัย พัฒน์โรจนโสภณ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย และนักวิจัยมหาวิทยาลัยศิลปากร
เข้าร่วม โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การประเมินผลกระทบทางสังคมและการประเมิน ผลตอบแทน ทางสังคมจากการลงทุน (SROI) เพื่อขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสู่ความสำเร็จ (Roadmap to Success)
เพื่อรับทราบแนวทางการประเมินSROIของโครงการวิจัยและการจัดเตรียมข้อมูลการประเมิน SROIของโครงการวิจัย
ผ่านระบบ Zoom meeting

ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารการวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ ได้รับเชิญจากสถานทูตสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เข้าร่วม Climate Talk Workshop on “Energy Storage Technologies including Hydrogen”

รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภกิจ สุทธิเรืองวงศ์ ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารการวิจัยนวัตกรรมและการสร้างสรรค์ ได้รับเชิญจากสถานทูตสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เข้าร่วม Climate Talk Workshop on “Energy Storage Technologies including Hydrogen”
เมื่อวันอังคารที่ 19 มีนาคม 2567 เวลา 18:00 – 20:00 น. ณ German Ambassador’s Residence กรุงเทพมหานคร การอบรมเชิงปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนสภาพแวดล้อมที่หลากหลายและครอบคลุมในประเด็น Energy storage and Hydrogen ไม่เพียงเฉพาะผู้เชี่ยวชาญและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทางธุรกิจเท่านั้น แต่ยังรวมถึงมุมมองของคนรุ่นใหม่ เช่น นักศึกษา และผู้นำเยาวชน โดยเปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ได้พัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แนวคิดและมุมมองที่แบ่งปัน ก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถ ศักยภาพในการคิดเชิงสร้างสรรค์และเชิงกลยุทธ์ต่อไป
https://x.com/gerinthailand/status/1770316050128609288?s=53&t=fT4stpmZsU25tuGKyad6ZQ

📢Call for papers!! 15th International Conference on Thai Studies (ICTS15) July 11-13, 2024 | Chonburi, Thailand hosted by Faculty of Humanities and Social Sciences, Burapha University✨

🔸Abstract paper submission: Now – March 31, 2024
🔸Deadline for early bird registration: April 30, 2024
🔸Full paper submission: April 30, 2024
🔸Deadline for full paper submission: May 15, 2024
Submit at: https://icts15.huso.buu.ac.th/
Keynote Speakers:
🔹 Professor Emeritus Thongchai Winichakul, University of Wisconsin-Madison
🔹 Professor Thanet Aphornsuvan, Thammasat University
🔹 Professor Emeritus Philip Hirsch, University of Sydney
🔹 Professor Piriya Krairiksh, Piriya Krairiksh Foundation
Special Lectures
🔹Professor Katherine Bowie, University of Wisconsin-Madison
🔹Emeritus Professor Peter Jackson, Australian National University
#ICTS15 #InternationalConference #ThaiStudies #HUSOBUU 💜🤍

ขอเชิญคณาจารย์ บุคลากรมหาวิทยาลัยศิลปากร เข้าร่วมโครงการการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (SROI) ของโครงการวิจัย เพื่อขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสู่ความสำเร็จ (Roadmap to Success)

❇️❇️❇️สำนักงานบริหารการวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญคณาจารย์ บุคลากรมหาวิทยาลัยศิลปากร เข้าร่วมโครงการการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (SROI) ของโครงการวิจัย เพื่อขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสู่ความสำเร็จ (Roadmap to Success)

🔅วิทยากร นายเศรษฐภูมิ บัวทอง และคณะวิทยากรกระบวนการ

นางสาวนูรีมะห์ ลูดิง นางสาวอุมัยย๊ะ ลูดิง นายเสกสรรค์ ว่องวัฒนาศิลป์ นางสาวอาซีม๊ะ ดามาลอ

วันเสาร์ที่ 25 – วันอาทิตย์ที่ 26 พฤษภาคม 2567 เวลา 8.30 -16.30 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 1 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพฯ

เงื่อนไขโครงการวิจัยที่จะสมัครเข้ารับคัดเลือกร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ
ต้องเป็นโครงการวิจัยที่หัวหน้าโครงการเป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัยศิลปากร

  1. เป็นโครงการวิจัยที่ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว และคาดว่ามีผลกระทบทางสังคม
    และเศรษฐกิจ
  2. เป็นโครงการวิจัยที่ได้รับงบประมาณ 1,000,000 บาท ขึ้นไป
  3. หากโครงการวิจัยมีนักวิจัยที่เคยผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การประเมิน
    ผลกระทบทางสังคม (SIA) และการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (SROI) มาก่อนจะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ
  4. นักวิจัยของโครงการวิจัยที่สมัครเข้าร่วมการประชุม ต้องเข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการฯ แบบ On site ที่ ห้องประชุมชั้น 1 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ได้ทั้ง 2 วัน และนำเสนอผลการประเมิน SIA และ SROI ผ่านระบบ Online Zoom Meeting ในวันที่สำนักงานบริหารการวิจัยฯ กำหนด
    รับสมัครตั้งแต่บัดนี้ จนถึงวันพุธที่ 3 เมษายน 2567 เวลา 16.00 น.
    หมายเหตุ
    นักวิจัยของโครงการต้องเข้าร่วมฟังการชี้แจงการกรอกใบงานตามแบบฟอร์ม
    ที่กำหนดผ่านระบบ Online Zoom Meeting ในวันเสาร์ที่ 6 เมษายน 2567
    เวลา 8:30-12:00 น. เพื่อคัดเลือกนักวิจัยเข้าร่วมโครงการฯ
    สมัครได้ที่ https://forms.gle/UnnaFxt3SM93Z6Fu9
    📞✅สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สำนักงานบริหารการวิจัยฯ เบอร์ภายใน 216005 หรือเบอร์ภายนอก 0616284101